รายละเอียดสินค้า ศิลปวัฒนธรรม ปีที่7ฉบับที่9 ประจำเดือน กรกฎาคม 2529
ประเภทปก อ่อน
กระดาษ ธรรมดา
พิมพ์ครั้งที่ 1
ปีที่พิมพ์ พ.ศ.2529
สำนักพิมพ์ ศิลปวัฒนธรรม
จำนวนหน้า 122 หน้า
ขนาด 190x260 มม.
สภาพหนังสือ:ปก มอมแมม มีรอยขีดข่วน ถลอก ยับเล็กน้อยตามภาพ, กระดาษเหลืองตามขอบ และ เป็นจ้ำเหลืองประปรายบางหน้า , สันหนังสือเหลือง และเป็นจุดเหลืองประปราย
รายละเอียดเพิ่มเติม:
นิตยสารศิลปวัฒนธรรม ตีพิมพ์ฉบับที่ 1 ปีที่ 1 เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2522 ด้วยฝีมือของ สุจิตต์ วงษ์เทศ (ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (กวีนิพนธ์) ประจำปี พุทธศักราช ๒๕๔๕ ) ตีพิมพ์เรื่องราวเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ศิลปวัฒนธรรมไทย มายาวนานต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
เรื่องตามสารบัญดังนี้
-ภาพปก สมุดข่อยปี 29 หมายเลข 2 รางวัลที่ 1 ประเภทจิตรกรรมแบบไทยประเพณี จิตรกรรมบัวหลวงครั้งที่ 10 ประจำปีพุทธศักราช 2529 โดย พิชัย กรรณกุลสุนทร
-จดหมายถึงบรรณาธิการ
-สโมสรศิลปวัฒนธรรม
-สุนทรีดนตรีไทยฉลองอายุครบรอบ 80 ปี คุณหญิงชิ้น ศิลปบรรเลง โดย เสถียร ดวงจันทร์ทิพย์
-ฝีมือปั้นอนุสาวรีย์นั่นแหละคือ "อนุสาวรีย์" โดย สนั่น ศิลาภรณ์
-สุนทรภู่ ไม่ใช่คนเมืองเพชร เป็นคนเมืองระยอง โดย พระครูไพบูลย์วิริยคุณ
-พระพุทธเจ้ามีจริง โดย ประพันธ์ ผลเสวก
-ครูฉ่ำ คนดีเมืองนคร โดย แสวง เย็นสมุทร
-สโมสรศิลปวรรณกรรม
-รับแขกในวรรณกรรมไทย โดย ธรรมเกียรติ กันอริ
-หลาน เมืองระยอง น้อง เมืองเพชร โดย รศ.กมล การกุศล
-หลายรสหลายเรื่อง โดย ไมเคิล ไรท์
-พจนานุกรมนิรุตติศาสตร์ โดย ภาษิต จิตรภาษา
-ค้นคำ เค้นความ โดย ล้อม เพ็งแก้ว
-งูๆปลาๆ โดย เรืองชัย ทรัพย์นิรันดร์
-พื้นบ้านชานเรือน โดย เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
-เดือนหนึ่งอัดหนึ่งที โดย ขรรค์ชัย บุนปาน
-พระราชนิพนธ์ขอขมาลาพระสงฆ์ก่อนสิ้นพระชนม์ของรัชกาลที่4 โดย รศ.ดร.สุภาพรรณ ณ บางช้าง
-พระสงฆ์ไทยไปเมืองจีนแล้วถูกจับติดคุก ชีวิตและผลงานของ สังเวียร มีเผ่าพงษ์
-แผนการบุกของญี่ปุ่นกับบทบาทนายกรัฐมนตรี จอมพล ป.พิบูลสงคราม โดย Eiji Murashima แปลโดย สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ
-รอยพระพุทธบาทและพระบรมธาตุเจดีย์ โดย มนวิภา เจียจันทร์พงษ์
-รอยพระพุทธบาทที่โบราณสถานสระมรกต โดย พีรพน พิสณุพงศ์
-จารึกภาษาบาลีเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย โดย คงเดช ประพัฒน์ทอง
-ชินกาลมาลีปกรณ์คลาดเคลื่อนเรื่อง เจดีย์หลวงเชียงใหม่ โดย ทวี สว่างปัญญางกูร
-หัวพันห้าทั้งหก ชนชาติและความขัดแข้งในประวัติศาสตร์ลาว-ไทย โดย จิระนันท์ พิตรปรีชา